1. การกระทำในข้อใด
ที่ทำให้สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายได้
1.การปล่อยสารเคมีไว้ในภาชนะเปิด
ภายในตู้ดูดควัน
2.
การถ่ายเทสารเคมีในปริมาณเท่าที่ต้องการใช้
3.สวมถุงมือเมื่อต้องเทกรดความเข้มข้นสูงออกจากขวด
4.การใช้เครื่องแก้วที่มีปากบิ่นเล็กน้อย
2. การระเหยตัวทำละลายภายในตู้ควัน
ช่วยป้องกันหรือหลีกเลี่ยงการเกิดอันตรายในห้องปฏิบัติการข้อใด
1.ไฟไหม้
2.การสูดดมไอของสารเคมี
3.สารเคมีเข้าปาก
4.การระเบิด
3. ข้อปฏิบัติใด
เป็นการหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดผิวหนังไหม้เกรียม
1.การจับบีกเกอร์ที่มีน้ำร้อนลงจาก
hot plate ด้วยมือเปล่า
2.การเช็ดสารเคมีที่หกเลอะบนโต๊ะทุกครั้ง
ไม่ว่าจะมีปริมาณมากหรือน้อยก็ตาม
3.สารเคมีที่หกกระเด็นจากบีกเกอร์เพียงเล็กน้อย
ไม่เป็นอันตราย ไม่ต้องรีบเช็ดทำความสะอาด
4.
เมื่อมีสารเคมีหกรดตัวเป็นบริเวณกว้าง ทำการชำระล้างโดยที่ล้างตัวฉุกเฉิน
4. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุสารเคมีเข้าปากได้
1.
การใช้ลูกยางในการดูดสารเคมีเข้าปิเปต
2.
ถ้าสวมถุงมือขณะทำการทดลอง ไม่จำเป็นต้องล้างมือหลังทำการทดลองเสร็จ
4.การโบกพัดไอของสารที่ต้องทดสอบด้วยการสูดดมเข้าหาจมูก
5.ไม่ดื่มหรือกินของขบเคี้ยวในห้องปฏิบัติการ
5. อุปกรณ์ความปลอดภัยใดในห้องปฏิบัติการ
ที่ใช้เมื่อเกิดอุบัติเหตุที่เป็นอันตรายมากและไม่สามารถจัดการด้วย ตนเองได้
1.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน
2.
เครื่องดับเพลิง
3.
สัญญาณเตือนภัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น